
คุณสามารถปรับเปลี่ยนจำนวนสินค้าจากรายการด้านล่างได้
สินค้า | ราคา | จำนวน | ราคารวม | |
---|---|---|---|---|
ไม่มีรายการสินค้าที่เลือกไว้ |
ISBN | 978-974-02-1224-9 |
---|---|
ปกหนังสือ | อ่อน |
กระดาษ | กระดาษจริงใจ 70 แกรม |
จำนวนหน้า | 264 หน้า |
น้ำหนัก | 295.00 กรัม |
กว้าง | 14.30 ซม. |
สูง | 18.40 ซม. |
หนา | 1.50 ซม. |
สำนักพิมพ์ | สำนักพิมพ์มติชน |
ความบันเทิง ไม่ใช่มีเพียงแต่ความสนุกเพียงอย่างเดียว แต่ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่อุดมการณ์ทางการเมืองจากรัฐ
ใช่ว่าจะมีแต่เพียงรัฐที่จะใช้ได้เท่านั้น ประชาชนก็สามารถใช้ได้ โดยนำไปใช้เคลื่อนไหวทางสังคม ตามเจตนารมย์ที่ตนต้องการ
ความบันเทิงดังกล่าวก็คือ “เพลงดนตรีและการละคร”
ความบันเทิง ไม่ใช่มีเพียงแต่ความสนุกเพียงอย่างเดียว แต่ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่อุดมการณ์ทางการเมืองจากรัฐ
ใช่ว่าจะมีแต่เพียงรัฐที่จะใช้ได้เท่านั้น ประชาชนก็สามารถใช้ได้ โดยนำไปใช้เคลื่อนไหวทางสังคม ตามเจตนารมย์ที่ตนต้องการ
ความบันเทิงดังกล่าวก็คือ “เพลงดนตรีและการละคร”
“เพลงดนตรีและการละคร” ที่อยู่ในหนังสือเล่มนี้มีทั้งแบบทางการ ที่รัฐเป็นผู้ผลิตขึ้นมา เราอาจเรียกว่า “วัฒนธรรมป๊อปแบบทางการ” กับแบบที่ไม่ใช่แบบทางการ เป็นแบบที่ชาวบ้านหรือนายทุน ทำขึ้นมา คือ ”วัฒธรรมป๊อปแบบไม่ทางการ”
แต่ “วัฒนธรรมป๊อป” ทั้งสองก็ล้วนมีพลังขับเคลื่อนไม่แพ้กัน
ทั้งหมดทั้งมวล มีคำอธิบายอยู่ในหนังสือเล่มนี้ โดย อติภพ ภัทรเดชไพศาล ซึ่งเป็นทั้งนักแต่งเพลงและนักเขียน เกิดความสงสัย และตั้งคำถามถึง “เพลงดนตรีและการละคร” ในสยามประเทศไทยว่า ทำไมเพลงบางเพลงถึงทรงพลังจนถึงทุกวันนี้ ?
อะไรคือความหมายของเพลงนั้นๆ ? เป็นต้น หรือ การแย่งชิงพื้นที่ทางวัฒนธรรม การสื่อสารทางความคิด ผ่านบทเพลงและการละคร เป็นต้น