ตะกร้าสินค้า

คุณสามารถปรับเปลี่ยนจำนวนสินค้าจากรายการด้านล่างได้

สินค้า ราคา จำนวน ราคารวม
ไม่มีรายการสินค้าที่เลือกไว้

ISBN223914202566
ปกหนังสืออ่อน
กระดาษปรุ๊ฟ
จำนวนหน้า90 หน้า
น้ำหนัก200.00 กรัม
กว้าง26.00 ซม.
สูง33.50 ซม.
หนา0.50 ซม.
พิมพ์ครั้งที่1
สำนักพิมพ์ทีมงาน บก.มติชนสุดสัปดาห์

มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับ 2239 (14-20 กรกฏาคม 2566)

ผู้เขียน : ทีมงาน บก.มติชนสุดสัปดาห์

เรียบเรียงโดย : ทีมงาน บก.มติชนสุดสัปดาห์


มติชนสุดสัปดาห์

ฉบับ 2239 (ประจำวันที่ 14-20 กรกฏาคม 2566)

---------------

ทางที่ต้องเลือก?

'ทิม' พิงผนังทองแดง

กำแพงประชาชน

------------

สกัดพิธา

คือการจุดชนวน

ความขัดแย้งใหญ่ของประเทศ

----------

จับสัญญาณ 'บิ๊กตู่' วางมือ

ปรับเกม-ส่งไม้ต่อ 'บิ๊กป้อม'

สู่ฝันชิง 'นายกฯ'

-----------

เอฟเฟ็กต์ 'ดีลตรง'

'บิ๊กตู่' วางมือ

งัดแผน 2

นำโอลด์ โซลเยอร์ สู้

กับมิสชั่นสุดท้าย

คัดขุนพลร่วมทัพ

---------

เบื้องหลังฝังแค้น 2 ขั้ว

ไม่เอา 2 ลุง-ไม่เอาทักษิณ

หัวหน้าประชาธิปัตย์คนใหม่

ในเกมแชร์อำนาจฝ่ายอนุรักษนิยม

----------

ทิชา ณ นคร'

เตือนถึงคนรุ่นเดียวกัน

ถ้า 'ไม่เปลี่ยน'

เวลาจะ 'ฆ่า' คุณ

-------------

กลบคดีสังหารประชาชนปี '53

ต้องรัฐประหารปี '57

เป็นเหตุให้ต้องสืบทอดอำนาจ

---------------

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

นำเสนอทัศนะ

ฤๅ 'ชาติ' นั้นจะเป็นเพียงความฝัน

: ทบทวน วิเคราะห์ คลี่คลาย วาทกรรม

ว่าด้วย 'การแบ่งแยกดินแดน' ในรัฐไทย

-----------

คอลัมน์ Cool Tech โดย จิตต์สุภา ฉิน

พาไป รู้จัก

"Threads โซเชียลหน้าใหม่

จากผู้เล่นหน้าเก่า"

----------

คอลัมน์ "การเมืองวัฒนธรรม"

ของ "เกษียร เตชะพีระ"

ฉายภาพ

"อนุรักษนิยม : สามประเภทหลัก"

------------

คนมองหนัง

ชวนไปดู คอนเสิร์ต 'พัลป์' ที่ลอนดอน

----------

คอลัมน์ เขย่าสนาม

ส่องเส้นทางค้าแข้ง 'สุภโชค-ศุภณัฏฐ์'

พี่น้องไทยโกอินเตอร์ค้าแข้งต่างแดน

-----------

ผ่าคดีฆ่าเศรษฐีเยอรมัน

หั่นศพสยอง-ซุกพัทยา

จับหัวโจกแก๊งเอาต์ลอว์

วงจรปิดมัด 'นางนกต่อ'

--------------

คอลัมน์เด่น

----------------

คอลัมน์ Agora

กฤตภาศ ศักดิษฐานนท์

แห่งวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

"ธรณีนี่นี้เป็นพยาน

อุทาหรณ์สอนใจ

ของการเมืองไทยในยุคพิธา"

00000

หลักการพื้นฐานของประชาธิปไตยนั้น

อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน

แล้ว ส.ว.ซึ่งโดยเนื้อแท้แล้วก็เป็นประชาชนคนหนึ่งเช่นกัน

จะมีอำนาจนี้มากกว่าประชาชนผู้ไปลงคะแนนเสียงได้อย่างไร

ปัญหาความไม่สมเหตุสมผลนี้ไม่ได้มีอยู่แค่เฉพาะ ส.ว.เท่านั้น

แต่ยังอยู่ที่กลไกทางการเมืองอื่นๆ ด้วย

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรอิสระต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น กกต. ป.ป.ช. หรือศาลรัฐธรรมนูญ เป็นต้น

การที่องค์กรเหล่านี้ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่มาจากการสรรหาหรือแต่งตั้ง

จึงไม่มีความยึดโยงกับประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจที่แท้จริง

เมื่อไม่ได้มาจากประชาชน พวกเขาจึงเป็นอิสระจากประชาชน แต่รับเงินเดือนจากภาษีประชาชน

ทว่า กลับไปผูกพันอยู่กับผู้ที่แต่งตั้งพวกเขาเข้ามา

กระทั่งกลายมาเป็นพฤติกรรมที่ดูราวกับกลุ่มเอกเทศอันแปลกแยกจากประชาชน

แต่มีอิทธิพลบางอย่างที่พลิกฟ้าคว่ำแผ่นดินได้

สมัครสมาชิก มติชนสุดสัปดาห์รายปี ส่งตรงถึงบ้านคลิก

https://shorturl.asia/GCHWr